การจัดการการเรียนรู้

Just another WordPress.com weblog

ฟังเพลงทาทายัง

i think of you — tata young
 

กันยายน 18, 2006 Posted by | Uncategorized | 1 ความเห็น

พลพล

กันยายน 18, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

ต่าย อรทัย

กันยายน 18, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

Introduction to Our Foreign Student Series

ฟังคำบรรยาย

06 September 2006
This week, we begin a series of reports for students around the world who are interested in higher education in the United States.

Foreign Students at US University

The last time we broadcast our Foreign Student Series was two years ago.  Since then we have gotten more requests for information about how to attend an American college or university.

So we will present new reports in our series with the most current information.

Each week, we will discuss a part of the process for becoming an international student in the United States. 

Students have many questions: How do I find out about schools?  How do I choose the right one for me?  Which tests must I take?  What kinds of documents will I need?  And a big question — how much will it all cost? 

Listen for answers to these and other questions over the coming weeks.

Our reports will describe the American system of higher education.  We will talk about financial aid and rules about employment.  We will also discuss English language requirements.  And we will tell you where to look in other countries for information and advice about studying in the United States.

Our reports will also take you inside some of the colleges and universities in the United States.  We will explore programs of study and report on student life.  Students who are not able to come to the United States will find out how to take classes over the Internet. 

In addition, we will examine how the threat of terrorism has changed some of the rules for study in the United States.

In researching our series, we talked to people in education and government and to foreign students. 

Planning is important to the success of an educational experience.  And that is the purpose of our series — to help you plan.

We would like to hear from anyone who has a general question about studying in the United States.  We will answer questions in our reports.  And we will try to answer as many questions as possible during our series.  Write to special@voanews.com, or VOA Special English, Washington, D.C., two-zero-two-three-seven U.S.A.

And that’s the VOA Special English Education Report, written by Nancy Steinbach.  Transcripts and audio files of each report in our Foreign Student Series will appear online at voaspecialenglish.com.  I’m Steve Ember.

กันยายน 16, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

เพลงเบิร์ด

กันยายน 16, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

ครองราชย์ 60 ปี

กันยายน 16, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

sayumporn

นักศึกษาปริญญาโท

 สาขาการจัดการการเรียนรู้

ภาคเรียนที่1/2549

มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา

aa

กันยายน 15, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

บทเพลง “บูชาครู”

    ใครคือครู ครูคือใครในวันนี้    ใช่อยู่ที่ปริญญามหาศาล

ใช่อยู่ที่เรียกว่าครูอาจารย์          ใช่อยู่นานสอนนานในโรงเรียน

   ครูคือผู้ชี้นำทางความคิด       ให้รู้ถูกผิดคิดอ่านเขียน

ให้รู้ทุกข์รู้ยากรู้พากเพียร           ให้รู้เปลี่ยนแปลงสู้รู้สร้างงาน

   ครูผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์     ให้สูงสุดกว่าสัตว์เดรัจฉาน

ปลุกสำนึกสั่งสมอุดมการณ์         มีดวงมาลย์เพื่อมวลชนของตนเอง

   ครูจึงเป็นนักสร้างที่ยิ่งใหญ่      สร้างคนจริงสร้างคนกล้าสร้างดนเก่ง

สร้างคนให้เป็นตัวของตัวเอง       ขอมอบเพลงนี้มาบูชาครู

( เนวรัตน์  พงษ์ไพบูลย์)

กันยายน 14, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

บทบาทของการศึกษา

บทบาทของการศึกษาและครูในการช่วยให้บุคคลรู้จักคุณค่าอันแท้จริงของชีวิต

” บุคคลจะมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุขเมื่อรู้ว่าตนเองนั้นมีคุณค่า ชีวิตที่มีคุณค่าจะเป็นชีวิตที่มีสันติภาพและสันติสุข ศีล สมาธิ นำพาชีวิตไปสู่สันติสุข”

มนุษย์จะเดินทางไปสู่จุดหมายอันสูงสุดของชีวิตได้เมื่อพัฒนาศักยภาพของตนจนถึงที่สุด นั่นคือ ได้เกิดปัญญารู้ความจริง สามารถแก้ปัญหาดับทุกข์ได้ เมื่อแก้ปัญหาดับทุกข์ได้ชีวิตก็จะเข้าถึงภาวะไร้ทุกข์ ซึ่งการที่จะดำเนินชีวิตให้ไปสู่ภาวะไร้ทุกข์ได้นั้น มนุษย์จะต้องพัฒนาตนเองด้วยการศึกษา 3 อย่าง หรือ ” ไตรสิกขา” คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ” การศึกษาทั้ง 3 อย่างนี้จะมีสัมฤทธิ์ผลสูงสุดได้ ต้องอาศัยครูที่มีความรู้ความสามารถเป็นผู้คอยแนะนำสั่งสอนอบรมให้ศิษย์ได้ประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้อง

กันยายน 12, 2006 Posted by | Uncategorized | ใส่ความเห็น

ครูที่น่ารัก

การทำตัวเป็นที่รักต่อศิษย์และบุคคลทั่วไป การที่ครูจะเป็นที่รักแก่ศิษย์ได้ก็ควรตั้งตนอยู่ใน พรมวิหาร 4  คือ

1.มีเมตตา ปรารถนาดีต่อศิษย์ หาทางให้ศิษย์เป็นสุขและเจริญก้าวหน้า ทั้งทางด้านวิชาการและการดำเนินชีวิต คอยระวังไม่ให้ศิษย์ตกอยู่ในความประมาท เช่น เกียจคร้านในการเรียนหนังสือ เที่ยวเตร่เสเพล ศิษย์ที่ได้รับความเมตตาจากครูดังกล่าว ย่อมสำนึกในความดีของครู และเกิดความเคารพรักครูอย่างจริงใจ

2.มีกรุณา สงสารเอ็นดูศิษย์ อยากช่วยเหลือจากความทุกข์ ความไม่รู้

3.มีมุทิตา คือชื่นชมยินดีเมื่อศิษย์ได้ดี และยกย่องเชิดชูให้ปรากฎ เป็นการให้กำลังใจและช่วยเหลือให้เกิดความภูมิใจในตนเอง และพร้อมที่จะปฏิบัติตามคำแนะนำของครูมากยิ่งขึ้น

4.มีอุเบกขา คือ วางตัวเป็นกลาง จิตใจที่ตั้งอยู่ในความยุติธรรม ไม่ลำเอียง ไม่ซ้ำเติมเมื่อมีการผิดพลาด

  sa

กันยายน 12, 2006 Posted by | Uncategorized | ปิดความเห็น บน ครูที่น่ารัก